ประกาศผลสอบบาลีสนามหลวง ประจำปี 2561 สำนักศาสนศึกษาวัดพระธรรมกาย
ขอแสดงมุทิตาสักการะพระภิกษุ - สามเณร ผู้สอบผ่าน บาลีสนามหลวง เปรียญธรรมประโยค ๙, ๘, ๗, ๖, ๕, ๔, ๓, ๒, ๑ และ บาลีศึกษา ๘ สำนักศาสนาศึกษาวัดพระธรรมกาย สำนักเรียนคณะจังหวัดปทุมธานี ประจำปี ๒๕๖๑
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๔)
ในชั้นนี้โดยรวมแล้วเราพบหลักฐานธรรมกายในประเทศไทยทั้งหมด ๑๔ ชิ้น แบ่งเป็นศิลาจารึก ๖ หลัก จารึกลานเงิน ๑ ชิ้นคัมภีร์จารึกใบลานหนังสือพับสารวม ๖ คัมภีร์และในรูปแบบหนังสืออีก ๑ เล่ม
ประวัติความเป็นมาของวันมหาปวารณา
กำเนิดวันมหาปวารณา ประวัติความเป็นมาของการทำปวารณาในวันออกพรรษาเกิดขึ้นเมื่อไร ต้องปฏิบัติอย่างไรบ้าง
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๘)
จากฉบับที่แล้ว ผู้เขียนได้พาท่านผู้อ่านย้อนรำลึกถึงประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาที่สำคัญที่สุดช่วงหนึ่งของประเทศไทย นั่นก็คือพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ในยุคต้นรัตนโกสินทร์ คือ รัชกาลที่ ๑ ที่...
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๗)
ฉบับนี้ ผู้เขียนจะขอพาท่านผู้อ่านย้อนรำลึกประวัติศาสตร์ในช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๓) สมัยนั้นมีกลอนเพลงยาวสรรเสริญพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยหมื่นพรหมสมพัตสรหรือนายมี มหาดเล็กในรัชกาล ซึ่งบรรยายถึงพระราชหฤทัยเลื่อมใสพระพุทธศาสนาของพระองค์ไว้ดังตอนหนึ่งว่า...
บวชเข้าพรรษา รวมศรัทธามั่นในพระรัตนตรัย
สังคมไทยกชำลังมีการเปลี่ยนแปลงและเดินตามกระแสสังคมโลกในหลายด้าน ซึ่งไม่เพียงแต่การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมเท่านั้น แม้แต่ทางวัฒนธรรมประเพณีของไทย โดยเฉพาะความยึดมั่นศรัทธาในพระพุทธธรรมคำสอน
ประวัติโดยสังเขป สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ ป.ธ.๙)
ชาติภูมิสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ ป.ธ.๙) เจ้าอาวาสวัดปากน้ำองค์ปัจจุบัน
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๕)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนนำเสนอบทความ “การค้นพบหลักฐานธรรมกายจากเอกสารโบราณในประเทศไทย” ฉบับเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา กล่าวคือ คณะนักวิจัยของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) ได้ทำการสืบค้นศึกษาวิจัยจนพบ หลักฐานร่องรอยธรรมกาย จากหลักศิลาจารึก....
แถลงข่าวท่าทีของวัดพระธรรมกายต่อกรณีที่อัยการรับสำนวนคดีจากกรมสอบสวนคดีพิเศษ
กรณีที่กรมส
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : พึงทำหน้าที่ตนให้สมบูรณ์
น ปเรสํ วิโลมานิ น เปรสํ กตากตํ อตฺตโน ว อเวกฺเขยฺย กตานิ อกตานิ จ ไม่ควรใส่ใจคำ แสลงหูของผู้อื่น ไม่ควรแส่มองธุระที่เขาทำ และยังไม่ทำ ควรตั้งใจตรวจตราหน้าที่ของตนนี้แหละ ทั้งที่ทำ แล้วและยังไม่กระทำ